วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ประพจน์ที่สมมูลกัน
ประพจน์สองประพจน์ใด จะสมมูลกันก็ต่อเมื่อประพจน์ทั้งสองมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี ใช้สัญลักษณ์ ≡ แทนคำว่า สมมูล ประพจน์ที่สมมูลกันจะสามารถใช้แทนกันได้ เนื่องจากมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี
การตรวจสอบว่าประพจน์สมมูลกันหรือไม่ ทำได้ 2 วิธี ดังนี้
ใช้ตารางแสดงค่าความจริง
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้สมมูลกันหรือไม่
1. p → q กับ ~p ∨ q
จะเห็นว่า ค่าความจริงของ p → q กับ ~p v q ตรงกันกรณีต่อกรณี
ดังนั้น p → q สมมูลกับ ~p ∨ q
2. ~p ^ q กับ p → q
จะเห็นว่า ค่าความจริงของ ~p ^ q กับ p → q มีบางกรณีต่างกัน
ดังนั้น ~p ^ q ไม่สมมูลกับ p → q
การตรวจสอบว่าประพจน์สมมูลกันหรือไม่ ทำได้ 2 วิธี ดังนี้
ใช้ตารางแสดงค่าความจริง
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้สมมูลกันหรือไม่
1. p → q กับ ~p ∨ q
จะเห็นว่า ค่าความจริงของ p → q กับ ~p v q ตรงกันกรณีต่อกรณี
ดังนั้น p → q สมมูลกับ ~p ∨ q
2. ~p ^ q กับ p → q
จะเห็นว่า ค่าความจริงของ ~p ^ q กับ p → q มีบางกรณีต่างกัน
ดังนั้น ~p ^ q ไม่สมมูลกับ p → q
สัจนิรันดร์
ประพจน์ที่เป็นสัจนิรันดร์
คือ รูปแบบของประพจน์ที่มี ค่าความจริงเป็นจริงเสมอ
ไม่ว่าประพจน์ย่อยจะมีค่าความจริงเป็น จริง หรือ เท็จ ก็ตาม เช่น p ∨ ~p , p → p , ~( p ∧ ~p ) , p ↔ p เป็นต้น
การตรวจสอบว่าประพจน์ใดเป็นสัจนิรันดร์ ทำได้ดังนี้
1. ใช้ตารางแสดงค่าความจริง
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้
เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
1.
[ ( p → q ) ∧ p ] → q
จะเห็นว่ารูปแบบของประพจน์ [
( p → q ) ∧ p ] → q มีค่าจริงเป็นจริงทุกกรณี
ดังนั้น [ ( p → q ) ∧ p ] → q เป็น สัจนิรันดร์
2. ใช้วิธีการหาข้อขัดแย้ง
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
1. ( p ∧ q ) → ( q ∨ p )
วิธีทำ สมมุติว่า ( p ∧ q ) → ( q ∨ p ) เป็นเท็จ
จากแผนภาพ จะเห็นว่า ค่าความจริงของ p และ q เป็นได้ทั้งจริงและเท็จ
แสดงว่าไม่มีกรณีที่ทำให้ ( p ∧ q ) → ( q ∨ p ) เป็นเท็จ
ดังนั้น รูปแบบของประพจน์ ( p ∧ q ) → ( q ∨ p ) เป็นสัจนิรันดร์
การอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผลจะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วนคือ
1. ส่วนที่เป็น เหตุ หรือ สิ่งที่กำหนดให้ ซึ่งได้แก่ P1
, P2 , P3 , … , Pn
2. ส่วนที่เป็น ผล ซึ่งได้แก่ Q
ในการอ้างเหตุผลอาจจะสมเหตุสมผล (valid) หรือไม่สมเหตุสมผล (invalid) ก็ได้
ซึ่งมีวิธีการตรวจสอบ
คือใช้ สัจนิรันดร์ โดยเชื่อมเหตุทุกเหตุด้วยตัวเชื่อม ∧ แล้ว
นำเหตุกับผลมาเชื่อมด้วยตัวเชื่อม → ดังนี้
ถ้า รูปแบบ ( P1 ∧ P2 ∧ P3 ∧ … ∧ Pn ) → Q เป็นสัจนิรันดร์ แสดงว่า การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล
ถ้า รูปแบบ ( P1 ∧ P2 ∧ P3 ∧ … ∧ Pn ) → Q ไม่เป็นสัจนิรันดร์ แสดงว่า การอ้างเหตุผลนี้ ไม่สมเหตุสมผล
ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
เหตุ 1. p → q
2. p
ผล q
วิธีทำ ขั้นที่ 1
ใช้ ∧ เชื่อมเหตุเข้าด้วยกัน และใช้ → เชื่อมส่วนที่เป็นเหตุกับผล
จะได้รูปแบบของประพจน์คือ [( p → q ) ∧ p] → q
ขั้นที่ 2
ตรวจสอบรูปแบบของประพจน์ที่ได้ว่าเป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
จากแผนภาพ แสดงว่า รูปแบบของประพจน์ [( p → q ) ∧ p] → q เป็นสัจนิรันดร์
ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
ประโยคเปิด
ประโยคเปิด คือ ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธที่มีตัวแปรไม่เป็นประพจน์และเมื่อแทนที่ตัวแปร
ด้วยสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์แล้วได้ประพจน์
ด้วยสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์แล้วได้ประพจน์
บทนิยาม ประโยคเปิดคือ ประโยคบอกเล่า ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรหนึ่งตัวหรือมากกว่าโดยไม่เป็นประพจน์ แต่จะเป็นประพจน์ได้ เมื่อแทนตัวแปรด้วยสมาชิกเอกภพสัมพัทธ์ตามที่กำหนดให้
นั่นคือเมื่อแทนตัวแปรแล้วจะสามารถบอกค่าความจริง
ประโยคเปิด เช่น
1. เขาเป็นนักว่ายน้ำทีมชาติไทย
2. x – 6 = 10
3. y < – 6
1. เขาเป็นนักว่ายน้ำทีมชาติไทย
2. x – 6 = 10
3. y < – 6
ประโยคที่ไม่ใช่ประโยคเปิด เช่น
1. 10 เป็นคำตอบของสมการ x – 1 = 7
2. โลกหมุนรอบตัวเอง
3. จงหาค่า x จากสมการ 2x + 1 = 8
4. กรุณานั่งเงียบ ๆ
5. ห้ามสูบบุหรี่
1. 10 เป็นคำตอบของสมการ x – 1 = 7
2. โลกหมุนรอบตัวเอง
3. จงหาค่า x จากสมการ 2x + 1 = 8
4. กรุณานั่งเงียบ ๆ
5. ห้ามสูบบุหรี่
ข้อตกลง
1. นิยมแทนประพจน์ด้วย p,q,r,s,…
2. นิยมแทนประโยคเปิดด้วย P(x) , Q(x) ,… P(x,y) , Q(x, y), … โดย P(x) , Q(x) , … แทน ประโยคเปิดที่มี x เป็นตัวแปร
โดย P(x, y) , Q(x, y) , … แทน ประโยคเปิดที่มี x และ yเป็นตัวแปร
3. ค่าความจริงที่เป็น ” จริง ” จะเขียนแทนด้วย ” T ”
4. ค่าความจริงที่เป็น” เท็จ” จะเขียนแทนด้วย ” F ”
1. นิยมแทนประพจน์ด้วย p,q,r,s,…
2. นิยมแทนประโยคเปิดด้วย P(x) , Q(x) ,… P(x,y) , Q(x, y), … โดย P(x) , Q(x) , … แทน ประโยคเปิดที่มี x เป็นตัวแปร
โดย P(x, y) , Q(x, y) , … แทน ประโยคเปิดที่มี x และ yเป็นตัวแปร
3. ค่าความจริงที่เป็น ” จริง ” จะเขียนแทนด้วย ” T ”
4. ค่าความจริงที่เป็น” เท็จ” จะเขียนแทนด้วย ” F ”
ตัวอย่างเช่น
• เขาเป็นคนดี ⇒ เป็นประโยคเปิดที่ประกอบด้วยตัวแปร “เขา”
• x > 3 ⇒ เป็นประโยคเปิดที่ประกอบด้วยตัวแปร “x”
• เขาเป็นคนดี ⇒ เป็นประโยคเปิดที่ประกอบด้วยตัวแปร “เขา”
• x > 3 ⇒ เป็นประโยคเปิดที่ประกอบด้วยตัวแปร “x”
ตัวบ่งปริมาณ
ตัวบ่งปริมาณ เป็นตัวระบุจำนวนสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์ที่ทำให้ประโยคเปิดกลายเป็นประพจน์
ตัวบ่งปริมาณมี 2 ชนิด คือ
1. ตัวบ่งปริมาณที่กล่าวถึง “สมาชิกทุกตัวในเอกภพสัมพัทธ์”
ซึ่งเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ “∀” อ่านว่า”สำหรับสมาชิก x ทุกตัว”
2. ตัวบ่งปริมาณที่กล่าวถึง “สมาชิกบางตัวในเอกภพสัมพัทธ์”
ซึ่งเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ “∃” อ่านว่า “สำหรับสมาชิก x บางตัว”
|
“ สำหรับ x ทุกตัว x2 > 0 “
“ มี x บางตัว ชึ่ง x > 3 “
เราเรียก “ สำหรับ… ทุกตัว “ และ “ มี ….บางตัว “ ว่าเป็นตัวบ่งปริมาณ
ตัวบ่งปริมาณในประโยคดังกล่าวนั้นจะปรากฎในประโยคเปิด ซึ่งจะจำแนกได้
2 ประเภทคือ
1. ตัวบ่งปริมาณที่หมายถึง “ ทั้งหมด “ “ ทุก ๆ “ “ แต่ละอัน “ จะเขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ “ ” “ และ
“x อ่านว่า สำหรับ x ทุกตัว
สำหรับ x แต่ละตัว
สำหรับ x ใด ๆ
|
2. ตัวบ่งปริมาณที่หมายถึง “ บางส่วน “ “ บางอย่าง“ “ บางสิ่ง “ “ มี “
“ มีอย่างน้อย “ จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “ $ “ และ
$x อ่านว่า จะมี x บางตัว
สำหรับ x บางตัว
มี x อย่างน้อยหนึ่งตัว
|
ตัวอย่าง การอ่านประโยคเปิดที่มีตัวบ่งปริมาณกำกับ
1. “x [ x + 0 = x ] อ่านว่า สำหรับ x ทุกตัว x + 0 = x
2. “x [ x Î I ® x Î R ] อ่านว่า สำหรับ x ทุกตัว ถ้า x เป็นจำนวนเต็มแล้ว x เป็น
เป็นจำนวนจริง
3. $x [ x > 4 ] อ่านว่า มี x บางตัว ชึ่ง x > 4
4. $x [x Î I Ù x2 = 4 ] อ่านว่า มี x บางตัว ชึ่ง x เป็นจำนวนเต็มแล้ว x2 = 4
5. $x”y [ x + y = 5 ] อ่านว่า สำหรับ x ทุกตัว จะมี yบางตัว ซึ่ง x + y = 5
6. “x”y [ x + y > 4 ] อ่านว่า สำหรับ x ทุกตัว สำหรับ y ทุกตัว ซึ่ง x + y > 4
7. $x$y [ x + y < 3 ] อ่านว่า มี x และ yบางตัว ซึ่ง x + y < 3
ข้อตกลง
1. ถ้าประพจน์นั้นนำหน้าด้วย “” “ แล้ว ประโยคเปิดด้านในวงเล็บให้เชื่อมด้วย “ ® “
2. ถ้าประพจน์นั้นนำหน้าด้วย “$ “ แล้ว ประโยคเปิดด้านในวงเล็บให้เชื่อมด้วย “ Ù “
|
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณตัวเดียว
พิจารณาประโยคเปิด > 0 เมื่อกำหนดตัวบ่งปริมาณและเอกภพสัมพัทธ์ให้แตกต่างกัน ดังนี้
x[ > 0], = {0,1,2,3} หมายถึง สมาชิกทุกตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ > 0], = {0,1,2,3} หมายถึง สมาชิกบางตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ > 0], = {1,2,3} หมายถึง สมาชิกทุกตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ > 0], = {1,2,3} หมายถึง สมาชิกบางตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ < 0], = {1,2,3} หมายถึง สมาชิกบางตัวใน ยกกำลังสองแล้วน้อยกว่า 0
x[ > 0], = {0,1,2,3} หมายถึง สมาชิกทุกตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ > 0], = {0,1,2,3} หมายถึง สมาชิกบางตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ > 0], = {1,2,3} หมายถึง สมาชิกทุกตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ > 0], = {1,2,3} หมายถึง สมาชิกบางตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ < 0], = {1,2,3} หมายถึง สมาชิกบางตัวใน ยกกำลังสองแล้วน้อยกว่า 0
การพิจารณาค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณนั้น โดยทั่วไปจะพิจารณา
แต่ละส่วนของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ดังนี้
ส่วนที่ 1 ตัวบ่งปริมาณ
ส่วนที่ 2 ประโยคเปิด
ส่วนที่ 3 เอกภพสัมพัทธ์
แต่ละส่วนของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ดังนี้
ส่วนที่ 1 ตัวบ่งปริมาณ
ส่วนที่ 2 ประโยคเปิด
ส่วนที่ 3 เอกภพสัมพัทธ์
ในที่นี้จะพิจารณาค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ซึ่งเป็นประโยคที่มีตัวแปร
เพียงตัวเดียว และเพื่อความสะดวกในการกล่าวถึงประโยค จะแทนประโยคที่มีตัวแปร x ด้วย P(x)
ดังนั้น ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณที่จะพิจารณาค่าความจริง จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้
[P(x)] เมื่อเอกภพสัมพัทธ์ คือ u
[P(x)] เมื่อเอกภพสัมพัทธ์ คือ u
เพียงตัวเดียว และเพื่อความสะดวกในการกล่าวถึงประโยค จะแทนประโยคที่มีตัวแปร x ด้วย P(x)
ดังนั้น ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณที่จะพิจารณาค่าความจริง จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้
[P(x)] เมื่อเอกภพสัมพัทธ์ คือ u
[P(x)] เมื่อเอกภพสัมพัทธ์ คือ u
สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
จากสมมูลของประโยคเปิดดังกล่าว ถ้าเติมตัวบ่งปริมาณชนิดเดียวกันไว้ข้างหน้าจะได้ประพจน์ที่สมมูลกันด้วยเช่น
เนื่องจากประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณเป็นประพจน์ ดังนั้น สามารถเทียบรูปแบบที่สมมูลกับรูปแบบประพจน์ที่สมมูลกันได้ เช่น
ตัวอย่างที่1 ประโยคในข้อใดต่อไปนี้สมมูลกัน
วิธีทำ
ประโยคที่สมมูลกันสามารถใช้แทนกันได้ ซึ่งการพิสูจน์ในวิชาคณิตศาสตร์จะนำสมบัติดังกล่าวนี้ไปใช้ ตัวอย่างเช่น
ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นเป็นการพิจารณาสมมูลของประโยคเปิดหรือประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณโดยวิธีเทียบกับสมมูลของประพจน์ ต่อไปนี้จะพิจารณาถึงนิเสธของประโยคเปิดหรือประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณโดยวิธีเทียบกับนิเสธของประพจน์เช่นเดียวกัน ดังนี้ นิเสธของ p คือ ~p จากรูปแบบของนิเสธนี้จะตกลงให้นิเสธของประโยคเปิดหรือประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณโดยวิธีเติมตัวเชื่อม “~” ข้างหน้าประโยค เช่น
สำหรับนิเสธของประโยคเปิดในรูปแบบอื่นจะเปรียบเทียบกับนิเสธของประพจน์ได้ดังต่อไปนี้
ข้อสังเกต ประโยคเปิดที่เป็นนิเสธกัน ถ้าเติมตัวบ่งปริมาณชนิดเดียวกันไปข้างหน้า ผลจะไม่ได้ประพจน์ที่เป็นนิเสธกัน เช่น
นอกจากการพิจารณาสมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณโดยวิธีเทียบกับประพจน์ที่สมมูลกันหรือนิเสธของประพจน์แล้ว ประโยคบางรูปแบบอาจจะต้องใช้พิจารณาจากบทนิยามของสมมูลหรือนิเสธดังนี้
“ประพจน์สองประพจน์จะสมมูลกันก็ต่อเมื่อมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี” “ประพจน์สองประพจน์จะเป็นนิเสธกันก็ต่อเมื่อมีค่าความจริงตรงกันข้ามกรณีต่อกรณี" ต่อไปนี้เป็นรูปแบบประพจน์ที่สมมูลกัน และเป็นนิเสธกันที่ใช้วิธีพิจารณาดังกล่าว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)