จากสมมูลของประโยคเปิดดังกล่าว ถ้าเติมตัวบ่งปริมาณชนิดเดียวกันไว้ข้างหน้าจะได้ประพจน์ที่สมมูลกันด้วยเช่น
เนื่องจากประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณเป็นประพจน์ ดังนั้น สามารถเทียบรูปแบบที่สมมูลกับรูปแบบประพจน์ที่สมมูลกันได้ เช่น
ตัวอย่างที่1 ประโยคในข้อใดต่อไปนี้สมมูลกัน
วิธีทำ
ประโยคที่สมมูลกันสามารถใช้แทนกันได้ ซึ่งการพิสูจน์ในวิชาคณิตศาสตร์จะนำสมบัติดังกล่าวนี้ไปใช้ ตัวอย่างเช่น
ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นเป็นการพิจารณาสมมูลของประโยคเปิดหรือประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณโดยวิธีเทียบกับสมมูลของประพจน์ ต่อไปนี้จะพิจารณาถึงนิเสธของประโยคเปิดหรือประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณโดยวิธีเทียบกับนิเสธของประพจน์เช่นเดียวกัน ดังนี้ นิเสธของ p คือ ~p จากรูปแบบของนิเสธนี้จะตกลงให้นิเสธของประโยคเปิดหรือประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณโดยวิธีเติมตัวเชื่อม “~” ข้างหน้าประโยค เช่น
สำหรับนิเสธของประโยคเปิดในรูปแบบอื่นจะเปรียบเทียบกับนิเสธของประพจน์ได้ดังต่อไปนี้
ข้อสังเกต ประโยคเปิดที่เป็นนิเสธกัน ถ้าเติมตัวบ่งปริมาณชนิดเดียวกันไปข้างหน้า ผลจะไม่ได้ประพจน์ที่เป็นนิเสธกัน เช่น
นอกจากการพิจารณาสมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณโดยวิธีเทียบกับประพจน์ที่สมมูลกันหรือนิเสธของประพจน์แล้ว ประโยคบางรูปแบบอาจจะต้องใช้พิจารณาจากบทนิยามของสมมูลหรือนิเสธดังนี้
“ประพจน์สองประพจน์จะสมมูลกันก็ต่อเมื่อมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี” “ประพจน์สองประพจน์จะเป็นนิเสธกันก็ต่อเมื่อมีค่าความจริงตรงกันข้ามกรณีต่อกรณี" ต่อไปนี้เป็นรูปแบบประพจน์ที่สมมูลกัน และเป็นนิเสธกันที่ใช้วิธีพิจารณาดังกล่าว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น