วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณตัวเดียว



พิจารณาประโยคเปิด > 0 เมื่อกำหนดตัวบ่งปริมาณและเอกภพสัมพัทธ์ให้แตกต่างกัน ดังนี้
x[ > 0], = {0,1,2,3} หมายถึง สมาชิกทุกตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ > 0], = {0,1,2,3} หมายถึง สมาชิกบางตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ > 0], = {1,2,3} หมายถึง สมาชิกทุกตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ > 0], = {1,2,3} หมายถึง สมาชิกบางตัวใน ยกกำลังสองแล้วมากกว่า 0
x[ < 0], = {1,2,3} หมายถึง สมาชิกบางตัวใน ยกกำลังสองแล้วน้อยกว่า 0
การพิจารณาค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณนั้น โดยทั่วไปจะพิจารณา
แต่ละส่วนของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ดังนี้
ส่วนที่ 1 ตัวบ่งปริมาณ
ส่วนที่ 2 ประโยคเปิด
ส่วนที่ 3 เอกภพสัมพัทธ์
ในที่นี้จะพิจารณาค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ซึ่งเป็นประโยคที่มีตัวแปร
เพียงตัวเดียว และเพื่อความสะดวกในการกล่าวถึงประโยค จะแทนประโยคที่มีตัวแปร x ด้วย P(x)
ดังนั้น ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณที่จะพิจารณาค่าความจริง จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ดังนี้
[P(x)] เมื่อเอกภพสัมพัทธ์ คือ u
[P(x)] เมื่อเอกภพสัมพัทธ์ คือ u


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น